ปรับปรุงล่าสุด 15 ก.ค. 2020 08:35:51 679

     

 ข้อมูลเกี่ยวกับผู้บริหาร

คณะผู้บริหารตำบล

ลำดับ     ชื่อ -นามสกุล             ตำแหน่ง
  1.              
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาเลิง          
  2.  
รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลตำบลนาเลิง
  3.
                                                            
รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาเลิง                           
  4.                          
เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาเลิง                                                                                                                

 

นายกองค์การบริหารตำบลนาเลิงและสมาชิกสภาตำบลตำบลนาเลิง อำเภอม่วงสามสิบ  จังหวัดอุบลราชธานี  มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 4 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่      

สมาชิกสภาตำบล

 

ลำดับที่ ชื่อ - สกุล ตำแหน่ง
1. นายณรงค์  ภักดีวงศ์  ประธานสภา อบต.
2. นายถาวร  หินแก้ว รองประธานสภาอบต.
3. นายสมคิด  เรือกิจ เลขานุการ อบต.
4. นายยนต์มณี  บุญชื่น สมาชิกสภา อบต.ม.1
5. นายเกรียงไกร  จินดากุล สมาชิกสภา อบต.ม.2
6. นายสยุมภู  สายจันดี สมาชิกสภา อบต.ม.2
7. นายสวัสดิ์  รัตนะโสภา สมาชิกสภา อบต.ม.3
8. นายจันที  สุขภาค สมาชิกสภา อบต.ม.3
9. นายคำเพียร  ทองย่อย สมาชิกสภา อบต.ม.4
10. นายประวิทย์  ทองอร่าม สมาชิกสภา อบต.ม.4
11. นายวิมล  การินทร์ สมาชิกสภา อบต.ม.5
12. นางสาวดวงเดือน ศรีลาวงศ์ สมาชิกสภา อบต.ม.6
13. นายฉลองศักดิ์  สาระจันทร์ สมาชิกสภา อบต.ม.6
14. นายสำลี  สมทอง สมาชิกสภา อบต.ม.7
15. นายเชษฐา ทิพบุตร สมาชิกสภา อบต.ม.8
16. นายสงวน  มูลสุวรรณ สมาชิกสภา อบต.ม.8
17.  นายวิเชียร  จินดากุล สมาชิกสภา อบต.ม.9


การบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลนาเลิง

     ประกอบด้วยคณะผู้บริหาร เป็นฝ่ายบริหารทางด้านนโยบาย โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นหัวหน้า และมีรองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้ช่วย และฝ่ายปฏิบัติงานประจำมี ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด และพนักงานเทศบาลและลูกจ้างเป็นผู้ปฏิบัติตามนโยบายที่คณะผู้บริหารมอบหมายให้เป็นไปตามระเบียบแบบแผนที่กำหนด โดยมีฝ่ายต่างๆ ดังนี้

  • คณะผู้บริหาร
  • สมาชิกสภา
  • สำนักปลัด
  • กองคลัง
  • กองช่าง
  • กองการศึกษา
  • กองสวัสดิการสังคม

 

สถานะการคลัง

 


ศูนย์บริการประชาชน

 


การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน

    ประชาชนในตำบลจะใช้สิทธิในการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตำบล และสมาชิกสภาตำบล ซึ่งสมาชิกสภาตำบลทั้ง 17 คน นั้นมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน ส่วนในการพัฒนาท้องถิ่น ประชาชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นหรือประชาพิจารณ์ ประชาคม โดยตัวแทนที่หลากหลายจากทุกสาขาอาชีพ ประสานขึ้นมาจากปัญหาความต้องการ เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา และแผนพัฒนาท้องถิ่นสามปี